แพทย์แผนไทยก้าวไกลงานวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวทางการเตรียมงานวิจัย
(ภาษาไทย)
(ภาษาอังกฤษ)
2.
ชื่อคณะผู้วิจัย (Investigators)
ผู้วิจัยหลัก
สังกัด ภาควิชา/หน่วยงาน คณะ/สถาบัน ความรับผิดชอบต่อโครงการวิจัย
ผู้วิจัยร่วม (ทุกคน)
สังกัด ภาควิชา/หน่วยงาน คณะ/สถาบัน ความรับผิดชอบต่อโครงการวิจัย
วัตถุประสงค์ (หลัก)
วัตถุประสงค์ (รอง)
คำถาม (หลัก)
คำถาม (รอง)
8. รูปแบบการวิจัย (Research Design)
ประชากร (Population)
ประชากรเป้าหมาย (Target
Population)
ประชากรกลุ่มควบคุม (Control
Population)
วิธีการเข้าถึงอาสาสมัคร (Approach to participant)
เช่น
เป็นผู้ป่วยในความดูแลของแพทย์ผู้วิจัย
ติดโฆษณารับสมัคร
ติดต่อแพทย์เจ้าของผู้ป่วยในการแนะนำตัวผู้วิจัยในแก่อาสาสมัคร
เกณฑ์การคัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย (Inclusion criteria)
เกณฑ์การคัดเลือกอาสาสมัครออกจากโครงการวิจัย (Exclusion criteria)
กระบวนการขอความยินยอม (Informed consent process)
ให้ระบุวิธีการที่ใช้ในการขอความยินยอม
เช่น แพทย์ผู้ทำวิจัยอธิบายข้อมูลให้กับอาสาสมัคร
แจกเอกสารข้อมูลและแบบขอความยินยอมให้อาสาสมัครนำกลับไปพิจารณาก่อนตัดสินใจ
หรือแพทย์ผู้ทำวิจัยอธิบายให้ข้อมูลแล้วให้ผู้ช่วยเป็นผู้แจกเอกสารให้อาสาสมัครนำกลับไปพิจารณาก่อนตัดสินใจ
วิธีการวิจัย/วิธีดำเนินการวิจัย
การจัดการกับตัวอย่างทางชีวภาพที่เหลือ
ขนาดตัวอย่าง และ การคำนวณ
10. การรวบรวมข้อมูล (Data
Collection)
11.
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้วิเคราะห์ (Data Analysis and Statistics)
12. ข้อพิจารณาด้านจริยธรรม
(Ethical Consideration)
โดยวิเคราะห์ตามหลักจริยธรรมการวิจัยในคน 3 ข้อ
แต่ละข้อผู้วิจัยทำอย่างไรได้แก่
หลักความเคารพในบุคคล (Respect for person)
โดยการให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนจนอาสาสมัครเข้าใจเป็นอย่างดีและตัดสินใจอย่างอิสระในการให้ความยินยอมเข้าร่วมในการวิจัย
หลักการให้ประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดอันตราย (Beneficence/Non-maleficence)
ผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง
อาจเกิดความเสี่ยงอะไรต่อตัวผู้ป่วย
การรักษาความลับของผู้ป่วยโดยในแบบบันทึกข้อมูลจะไม่มี identifier ที่จะระบุถึงตัวผู้ป่วย
และหลักความยุติธรรม (Justice)
คือมีเกณฑ์การคัดเข้าและออกชัดเจน
มีการกระจายความเสี่ยงและผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน
โดยวิธีสุ่มเข้ากลุ่มศึกษา
14.
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้น (Challenges)
15.
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นและความรับผิดชอบ (Risk
and Investigator’s Responsibility)
17.
สถานที่ทำวิจัย (Venue of
the Study)
18.
การบริหารงานวิจัยและตารางการปฏิบัติงาน (Tabulation
of Research Activities and Timeline)
19. การเข้าถึงยาวิจัยภายหลังเสร็จสิ้นโครงการวิจัย (Post trials
access to study drug)
ในกรณี clinical trials ทดสอบยา
phase III ถ้าได้ผลและอาสาสมัครต้องการได้ยาต่อ
ผู้วิจัยจะดำเนินการอย่างไร เนื่องจากกว่ายาจะออกสู่ท้องตลาดอาจจะต้องใช้เวลาอีก
1-2 ปี
20. งบประมาณ (Budget)
21. เอกสารอ้างอิง (References) หรือบรรณานุกรม (Bibliography)
22. ภาคผนวก (Appendix)
23. ประวัติของผู้ทำดำเนินการวิจัย (Biography)
หมายเหตุ บางประเด็นอาจต้องปรับให้เหมาะสมตามหัวข้อที่ทำการวิจัย
21. เอกสารอ้างอิง (References) หรือบรรณานุกรม (Bibliography)
22. ภาคผนวก (Appendix)
23. ประวัติของผู้ทำดำเนินการวิจัย (Biography)
หมายเหตุ บางประเด็นอาจต้องปรับให้เหมาะสมตามหัวข้อที่ทำการวิจัย
อ่านเรื่องที่เกี่ยวข้อง
Blogger Comment
Facebook Comment